วันพุธที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2554

บริการแนะนำ

บริการแนะนำ (Guidance Services)
สิ่งได้จากการเรียนรู้รายวิชาบริการสารสนเทศ 023707 ในวันที่ 28 สิงหาคม 2554
บริการแนะนำ (Guidance Services)
มุ่งเน้นใน 2 ระดับด้วยกัน คือ
-   ห้องสมุดประชาชน
-   ห้องสมุดทั่วไป


                                            http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=tuanny&month=09-12008&group=2&gblog=1
 คือ จะเน้นในด้านการช่วยเลือกขณะสืบค้น เน้นการเลือกทรัพยากรมากกว่าการสอนให้ใช้เป็น โดยบรรณารักษ์ฝ่ายที่ทำหน้าที่ดูแลในส่วนนี้ คือ บรรณารักษ์อ้างอิง
ประเภทของบริการแนะนำ
         1.  แนะนำการอ่าน (Readers ‘ Advisory Services)
บริการช่วยเหลือสารสนเทศที่เหมาะสมกับผู้ใช้หรือแนะนำการเลือกสารสนเทศ
การอ่านเป็นกระบวนการที่ต้องพัฒนาตลอดเวลา
คนที่อ่านหนังสือไม่ดีไม่ต่างกันกับคนที่อ่านหนังสือไม่ออก
Book Trailer การแนะนำหนังสือ
Book Club วิธีการตั้งสโมสรโรงเรียน
         2.  บริการอ่านบำบัด (Bibliothearaphy)
อ่านเพื่อปรับปรุงและพัฒนาจิตใจ ความคิด เนื้อหาหนังสือ เป็นสิ่งที่สามารถผ่อนคลายอารมณ์ ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน ช่วยฟื้นฟูและพัฒนาด้านจิตวิทยา
กระบวนการของสมองในการอ่าน
1  กระบวนการทางกายภาพ
2  กระบวนหารทางระบบสมอง
       3.  บริการปรึกษาแนะนำการทำรายการ (Term Paper Consulting)
ส่วนใหญ่จะมีในห้องสมุดโรงเรียนและมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเลือกแนะนำแนวทางในการค้นคว้าและทำรายงาน
      4.  บริการแนะนำช่วยการวิจัย (Research Assistant and  Consulting)
Bibliography Instruction(BI) , Subject Guide , Research Guide , Pathfider , Web Portal
หน้าที่ในการช่วยในการค้นคว้าวิจัย
1.               Ready Reference
2.               Topic Subject
3.               Course Guide
     5.  บริการอื่นๆ
          กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน วิธีการที่ทำให้ผู้ใช้บริการ เกิดความสนใจและอยากเข้ามาใช้บริการ
เทคโนโลยีในห้องสมุด WEB2.0 / LIB 2.0

บทบาทของห้องสมุดต้องให้สิ่งที่เป็นมากกว่าความเป็น ห้องสมุด
        ห้องสมุดเข้าสู่โลกของ2.0ได้อย่างไรบ้าง?
       การที่จะเข้าสู่โลกของ 2.0 ได้ คงต้องเริ่มจากการเป็นผู้เล่นก่อน มีห้องสมุดจำนวนมาก ที่ได้ริเริ่ม และลองเล่นเครื่องมือการสร้างเครือข่ายทางสังคมต่างๆ (Social Networking Tools) ที่มีให้บริการอยู่มากมาย แล้วนำมาประยุกต์ใช้ อาทิเช่นBlog บทความออนไลน์ที่ใครๆ ก็เขียนได้ เขียนเรื่องอะไรก็ได้ หลายหน่วยงานใช้เพื่อประกาศข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ ให้ผู้สนใจได้ติดตามWiki – ต้นแบบของการทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้เขียนบทความ สารานุกรมในเรื่องที่น่ารู้ต่างๆ ในแบบช่วยกันเขียนช่วยกันแก้ไขอภิปรายร่วมกันจนได้ข้อสรุปสุดท้ายเป็นองค์ความรู้ที่น่าเชื่อถือFolksonomy – เรียกอีกอย่างว่า Tag เป็นคำหรือข้อความที่บอกถึงหมวดหมู่ กลุ่มเนื้อหาของสิ่งต่างๆ ด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ซึ่งบางคนอาจจะประยุกต์ใช้โดยแทนที่จะบอกว่าสิ่งนั้นเกี่ยวกับอะไร แต่ให้ข้อมูลการนำไปใช้แทนก็ไม่ผิดกติกาแต่อย่างใดRSS รูปแบบการรับส่งข้อมูลข่าวสารที่สะดวก รวดเร็ว ทำให้เราสามารถติดตามความเปลี่ยนแปลงข้อมูลในเว็บต่างๆ ได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น เพียงแค่บอกรับ (Subscribe) เว็บที่เราสนใจ หากมีการ Update ใดๆ ข้อมูลเหล่านี้จะเข้ามาหาเราเองโดยที่เราไม่ต้องเข้าไปเว็บนั้นให้เสียเวลาPodcast และ Videocast การเผยแพร่ไฟล์เสียงและไฟล์วิดีโอต่างๆ ที่น่าสนใจ เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการกระจายข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน ซึ่งผู้ใช้สามารถบอกรับการ Update ได้เช่นเดียวกับระบบของ RSS
Social Bookmarking แบ่งปันลิงค์ (Link) URL เว็บไซต์ที่น่าสนใจร่วมกัน สร้างให้เกิดแหล่งข้อมูลที่มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น เพราะอย่างน้อย URL เหล่านั้นก็เคยมีคนเก็บไว้เพื่อเรียกใช้งาน ห้องสมุดบางแห่งใช้ del.icio.us เพื่อการสร้าง Subject Guideหรือชี้แหล่งข้อมูลในหัวเรื่องต่างๆที่น่าสนใจหรือใช้เพื่อการตอบคำถามได้อีกด้วยSocial Networking เครือข่ายทางสังคม ของคนที่สนใจอะไรเหมือนๆ กัน มีตัวอย่างให้เห็นมากมายในปัจจุบัน ซึ่งสามารถใช้เครื่องมือเหล่านี้ ใช้คนที่อยู่ในชุมชนนั้นๆ ให้เป็นประโยชน์ให้ข้อมูลเฉพาะด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดีNext Generation OPAC การสืบค้นหนังสือหรือข้อมูลยุคใหม่ ที่ต้องสะดวก รวดเร็ว พาผู้ใช้ไปยังข้อมูลที่เขาสนใจได้อย่างง่ายดาย มีข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ มีเครื่องมือในการช่วยเหลือให้ใช้งานสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมถึงเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ในรายการต่างๆ ได้
ที่มาของแนวคิดห้องสมุด 2.0
- พฤติกรรมผู้ใช้เปลี่ยนไป มีการพัฒนาการใช้ IT มากขึ้น
- กฎของพาเรโต
- เศรษฐศาสตร์แถวหางยาว
- เทคโนโลยี WEB 2.0
- เทคโนโลยี LIB 2.0

กฎของพาเรโต (Pareto Principle) “80/20 rule”
- กฎ 80/20 ได้รับความนิยมใช้มาเรื่อยๆ จนถึงยุคที่มีอินเตอร์เน็ต
- อินเตอร์เน็ตทำให้ต้นทุนในการประชาสัมพันธ์ การสื่อสาร และไม่ได้แปรผันตามปริมาณการใช้อีกต่อไป การเข้าถึงกลุ่มลูกค้าอีก 80% ได้ง่ายขึ้น
- อินเตอร์เน็ตจึงเป็นจุดกำเนิดของกลยุทธ์หางยาว (Long Tail Strategy) ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่เน้นเจาะกลุ่มลูกค้า (demand side) หรือสินค้า (supply side) อีก 80% ที่เป็นลูกค้าระดับรอง หรือสินค้าที่ขายยาก
Niche Marketตลาดกลุ่มเฉพาะ
Niche Marketing คือ กระบวนการในการหาส่วนของตลาดที่สามารถทำกำไร
ได้ โดยการตอบสนองในสินค้าและบริการที่เป็นความต้องการเฉพาะตัว นักการตลาด
ทางด้านนี้มักจะให้ความสำคัญกับเรื่องของรูปแบบธุรกิจที่มีความจงรักภักดี เพื่อรักษายอดขาย
ที่ทำกำไรได้ไว้อย่างยั่งยืน
ประโยชน์ของ Niche Market
1. ธุรกิจประเภทนี้สามารถทำได้ถึงแม้จะมีทรัพยากรและทุนจำกัด การทำ Niche
Market จะช่วยประหยัดแรงงาน แรงเงิน และแรงใจ เนื่องจาก สามารถทุ่มเททั้งเวลาใน
การศึกษาพฤติกรรม และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย คิดวางแผนในการทำตลาด รวมไปถึง
สามารถจัดสรรงบประมาณในการทำตลาดได้อย่างเต็มที่
2. ในขณะเดียวกัน ความเป็น Niche Market มักจะทำให้มีคู่แข่งในตลาดน้อย หรือ
อาจไม่มีเลยเพราะขนาดตลาดเล็กเกินไป ไม่ดึงดูดนักลงทุนรายใหญ่ๆ ให้เข้ามา การทำตลาด
แบบ Niche Market เกิดขึ้นได้เพราะยังมีความต้องการของลูกค้ากลุ่มหนึ่งที่ไม่ได้รับการ
ตอบสนอง ถ้าสามารถค้นพบตลาดนี้ และตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว ก็จะสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้นำ
ตลาดได้
กฎ 3 ประการของ ทฤษฎี Long Tail
1.               Make everything available
2.               Cut the price in half now lower it
3.               Help me find it
      


วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บริการยืมระหว่างห้องสมุด/สภาบัน


DATE  21/08/2554
บริการยืมระหว่างห้องสมุด/สภาบัน
(Inter Library Loan – ILL)
                       ความหมาย
                       บริการที่สถาบันหรือสถาบันบริการสารสนเทศร่วมมือกันในการให้บริการขอใช้วัสดุห้องสมุดภายในสถาบัน หรือสถาบันบริการสารสนเทศแห่ง อื่นๆ โดยมีข้อตกลงร่วมกัน
        ระหว่างสถาบันสาขากับสถาบันศูนย์กลาง
        ยืมระหว่างสถาบันในประเทศ
        ยืมระหว่างสถาบันที่อยู่ต่างประเทศ
Extension services ห้องสมุดประชาชนยืมหนังสือหายากจาก หน่วยงานจดหมายเหตุ หรือพิพิธภัณฑ์มาแสดงนิทรรศการหนังสือหายาก
              วัตถุประสงค์
                               •        ส่งเสริมให้วิจัยและการศึกษาในเชิงลึก โดยยึดถือหลักการให้ยืมสำหรับสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ใช้ห้องสมุด
                               •        ให้บริการแก่ผู้ใช้มากขึ้นในการลงทุนคงที่เดิม
                               •        ให้บริการคงเดิมในราคาที่ถูกกว่าเดิมหรือลงทุนน้อยลง
        ความสำคัญของบริการ ILL
1.   ขยายความสามารถในการเข้าถึง
1)      ลดปัญหาการมีวัสดุห้องสมุดไม่พอเพียง  การใช้สารสนเทศ ผู้ใช้ที่อยู่ห่างไกลหรือผู้ใช้ของสถาบันเล็กที่มีข้อจำกัดทั้งด้านงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรสารสนเทศ
2)      ลดช่องว่างระหว่างสถาบันความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศ ห้องสมุดขนาดเล็กมีโอกาสได้ใช้สารสนเทศทัดเทียมกับผู้ที่อยู่ในเขตเมืองใหญ่ ผู้ใช้สามารถใช้ทรัพยากรของสถาบันที่อยู่ห่างไกลได้
3)      ช่วยลดข้อจำกัดด้านระยะทาง
4)      มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่คุ้มค่า  คุ้มทุน
5)      ช่วยประหยัดงบประมาณ หลีกเลี่ยงการซื้อซ้ำซ้อน โดยกลายเป็นการยืมแทนการซื้อ
6)      ช่วยให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรที่หายากที่มีเฉพาะบางห้องสมุดเท่านั้น
7)      เพิ่มความก้าวหน้าสร้างความเข็มแข็งการจัดการ การบริการในกลุ่มห้องสมุด
8)      สร้างภาพลักษณ์ที่ดีในการให้บริการ
        งาน ILL ประกอบด้วย
1.       ขอยืม (Borrowing)
2.       ให้ยืม (Lending)
3.       Primary (intra-library) loans
            Secondary (inter-library) loans  Library administration considers ILL to be a basic serviceฝ่ายบริหารห้องสมุดในระดับอุดมศึกษา จะคำนึงว่าการให้บริการยืม ระหว่างห้องสมุด เป็นบริการหลัก  (Basic service)  ส่งเสริมการศึกษาและวิจัย



บริการข่าวสารทันสมัย
Current Awareness Service-CAS
Van Brakel (1997:127) บริการช่วยผู้ใช้ให้ได้รับข่าวสารทันสมัยและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในในสาขาที่สนใจ
                describes CAS as keeping end-users updated on newinformation and developments in their fields of interest.
Hamilton (1995:3)  บริการที่จัดสำหรับผู้รับด้วยการให้สารสนเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงล่าสุด ในเรื่อง/สาขาที่สนใจ หรือ ต้องการที่จะทราบ
                a service which provides the recipient with information on the latest developments within the subject areas in which he or she has a specific interest or need to know.
Kemp(1979:12-13) ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงล่าสุด โดยมีบริการข่าวสารทันสมัยเป็นระบบที่ทำการตรวจสอบ/วิเคราะห์เอกสารในเรื่องใหม่ๆ โดยทำการคัดเลือกให้ตรงต่อความต้องการของผู้ใช้ส่วนบุคคล หรือ เป็นกลุ่ม และ ทำการจัดเก็บบันทึกเพื่อจัดส่งให้ตามความต้องการของผู้ใช้
                current awareness as knowledge of recent developments and CAS as systems for reviewing newly available documents, selecting items relevant to the needs of an individual or group, and recording them so that notifications may be sent to those individuals or groups to whose needs they are related. These services thus involve the review of documents, the selection of relevant items and notification of the users.
                บทบาทในการจัดเตรียมการเข้าถึงสารสนเทศ สิ่งสำคัญคือ การเลือกแหล่งสารสนเทศ เช่น จากแหล่งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์, แหล่งเครือข่ายภายใน เป็นต้น ด้วยรูปแบบบริการใหม่ สะท้อนจากรูปแบบจากเดิมแค่ just-in- case หมายถึง สืบค้นเรื่องที่ต้องการเป็นเรื่องๆ มาเป็น just-in-time ค้นให้ทันเวลาที่ต้องการ และมาเป็น just-for-you ค้นเรื่องตามที่ผู้ใช้ต้องการ สิ่งเหล่านี้ จำเป็นต้องใช้บริการส่งสำเนาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (electronic document delivery services) และพิจารณาถึงการเจรจาต่อรองเรื่อง licences งบประมาณ และการสร้างความร่วมมือระหว่างห้องสมุด (consortia) (Morris and Blagg, 1998)
บริการ CAS
           1.      Documents cards  e-mail more Fulltext
           2.      Personal notification  books Articles  จดหมาย Tel e-letter TOC
           3.      Commercial database producers/vendors

            4.     Personal bibliographic databases  Procite, ReferenceManager,EndNote,LibraryMaster,DB/TextWorks and Bibliocite
          5.       Electronic clipping services   Dow Jones-CustomsClips, iQNewsClip
          6.       Push technology หรือ Webcasting  ส่งข้อมูล  และสารสนเทศไปบนอินเทอร์เน็ตอย่างอัตโนมัติ ส่วนใหญ่จะเป็นเว็บไซต์ประเภทข่าวสาร เช่น CNNPN , ABCNEWS   (Microsoft Direct Push) 
                 การจัดส่งบริการ CAS
                บริการสารสนเทศทันสมัยจะมีประโยชน์เมื่อ สามารถตอบสนอง
        วัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ
                       •      ให้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ และตามความต้องการต่อผู้รับ
                       •      จัดส่งทันที
                       •      จัดส่งให้อย่างสม่ำเสมอในช่วงเวลาที่เหมาะสม
                       •      การจัดส่ง หรือเผยแพร่บริการสามารถทำได้ 3 วิธี ดังนี้
                                1.     Print
                                2.     Computer
                                3.     Telecomms
             การจัดการบริการ CAS
                1.  ความถี่ในการจัดส่ง
               •   ความถี่ในการจัดส่ง เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งของบริการสารสนเทศทันสมัย ซึ่งผู้ให้บริการต้องพิจารณาช่วงความถี่ในการจัดส่งให้เหมาะสม เนื่องจากเป้าหมายหลักของบริการสารสนเทศทันสมัยคือ การจัดส่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่ต้องการใช้ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อที่จะสามารถใช้
               •    ประโยชน์จาก สารสนเทศนั้นได้อย่างเต็มที่ ตามปรัชญาของการบริการ คือ “The right book to the rightperson at the right time.” ซึ่งลักษณะขององค์กรจะเป็นตัวกำหนดความเหมาะสมของความถี่ในการจัดส่ง เช่น ถ้าเป็นศูนย์ข้อมูลของหน่วยงานด้านการเงิน หรือที่ปรึกษาด้านการจัดการ ย่อมต้องการให้จัดส่งบริการให้ทุกวัน ในหน่วยงานวิจัยอาจต้องการทุกสัปดาห์ บางแห่งอาจต้องการให้จัดส่งรายเดือน โดยปกติความถี่ในการจัดส่งบริการสารสนเทศทันสมัยอย่างน้อยควรต้องจัดส่งเดือนละครั้ง ในองค์กรที่เพิ่งเริ่มจัดบริการสารสนเทศทันสมัย อาจเริ่มต้นด้วยการจัดทำเป็นรายสัปดาห์ก่อน เพื่อที่จะได้มีเวลาปฏิบัติงานอื่น และไม่เป็นการเว้นช่วงห่างเกินไป
      2.     การให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศจากการสัมภาษณ์ผู้ใช้ดังกล่าว ห้องสมุด หรือหน่วยงานบริการสารสนเทศอาจขอความร่วมมือจากผู้ใช้ในการบอกรับวารสารที่ออกโดยสมาคมวิชาชีพที่ผู้ใช้เป็นสมาชิก เนื่องจากจะได้รับส่วนลดในอัตรของสมาชิก และอีกประการหนึ่งคือ การบอกรับเป็นรายบุคคลจะเสียค่าบอกรับเป็นสมาชิกในอัตราที่ถูกกว่าการบอกรับในนามสถาบัน หรือองค์กร และสมาคมวิชาชีพต่าง ๆ มักมีการออกเอกสารของสมาคม อาจเป็น วารสารจดหมายข่าว รายงานการประชุมรายงานอื่น ๆ ซึ่งเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่เป็ประโยชน์และอาจได้รับมาโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย หรือ ได้รับในอัตราสมาชิก และสมาชิกที่บอกรับ ไม่ต้องกังวลเรื่องพื้นที่ในการจัดเก็บนอกจากนี้ การแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการประชุม สัมมนา นิทรรศการ การฝึกอบรม ไว้ในบริการจะเป็นประโยชน์ต่อ  ผู้ใช้บริการอย่างยิ่ง ห้องสมุดอาจแจ้งความจำนงไว้ที่สมาคมวิชาชีพ สถาบันต่างๆ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ให้แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้สถาบันบริการฯ ทราบ และจะขอบคุณมากหากจัดส่งรายงานการ
ประชุม หรือเอกสารประกอบการประชุมสัมมนา หรือ โปรแกรมการประชุมมาให้ ห้องสมุดอาจพิจารณาจัดคอลเล็คชั่นให้กับเอกสารเหล่านี้ สำหรับในสถาบันการศึกษาเอกสาร ตำรา รายงานการวิจัย ที่ได้รับทุนจากสถาบันมักเป็นสิทธิของสถาบัน ดังนั้น จึงควรแจ้งไว้ในบริการด้วยว่า อยู่ในระหว่างกำลังดำเนินการหรือ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว
ปัจจุบันมีทั้งข้อมูล Full-text ทั้งที่เป็นบทความวารสารและหนังสือพิมพ์ที่ให้บริการในลักษณะออนไลน์ แต่มีข้อด้อยคือ ในช่วงที่มีผู้ใช้บริการเครือข่ายสูงจะทำให้ความเร็วในการเข้าถึงช้าลง หรืออาจเข้าใช้ไม่ได้เลย และบางฐานข้อมูลกำหนดเวลาในการเข้าใช้บริการเพียงสั้น ๆ และอีกประการหนึ่งคือ ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง แต่มีข้อดีประการสำคัญ ข้อมูลทันสมัย เนื่องจากผู้ผลิตทำการปรับปรุงฐานข้อมูลอยู่เสมอ ปรับปรุง ทุกครั้ง
ที่ผลิต สิ่งพิมพ์ออกมา ซึ่งตรงกับวัตถุประสงค์ของบริการสารสนเทศทันสมัย เนื่องจาข้อมูลที่ค้นได้ส่วนใหญ่เป็น สารสนเทศที่ผลิตในต่างประเทศ และอาจไม่มีในประเทศไทยซีดี-รอม เป็นแหล่งข้อมูลที่ทันสมัยอีกแหล่งหนึ่งที่สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้านระบบการสื่อสาร ไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา ค่าใช้จ่ายถูกกว่าข้อมูลอาจล้าสมัยกว่าฐานข้อมูลออนไลน์แต่ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตได้มีการปรับปรุงทุกระยะ อาจทุก ๆ 1 หรือ 2 หรือ 3 เดือน และจัดส่งแผ่นที่ปรับปรุงข้อมูลแล้วมาให้ห้องสมุด อย่างไรก็ตาม ยังคงมีค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ออุปกรณ์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ เครื่องอ่านซีดี-รอม และเครื่องพิมพ์









วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

งานสัมมนา วิชาการเรื่อง การบริการสารสนเทศ

สรุปงานสัมมนาวิชาการเรื่อง การบริการสารสนเทศ วันที่ 23-24 ก.ค. 2554

โดย อ.บุญเลิศ  อรุณพิบูลย์ ตำแหน่งหัวหน้างานพัฒนา และบริการสื่อสาระดิจิทัล

สำนักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA)

  1.  New services (บริการรูปแบบใหม่)

1.1    Cloud  computing : เช่น Face book, G-mail.

 ลักษณะ คือ รวมตัวเป็นกลุ่มก้อน  ไม่ได้เก็บข้อมูล  ไม่ได้มีการบันทึกในคอมพิวเตอร์ของเรา  ไม่ต้องรู้ ที่ตั้ง ไม่ทราบว่า Server ตั้งอยู่ที่ใด 

Black April คือ เหตุการณ์ที่ระบบเทคโนโลยี ต่างล่มโดยมิได้นัดหมายใน วันที่ 21 เดือนเมษายน 2011ที่ขอเรียกได้ว่าเป็น “Black April” เดือนที่เกิดความโกลาหลในอุตสาหกรรมไอซีที ไปพอสมควร ไม่เพียงแต่ในต่างประเทศ บ้านเราระบบไทยคมก็ทำเอาหน้าจอมืดไปร่วมสามชั่วโมง ยักษ์ใหญ่แห่งธุรกิจค้าปลีกออนไลน์อย่าง Amazon ส่งผลให้องค์กรนี้มีระบบไอทีที่เข้มแข็งมาก ขนาดที่เข้ามายืนอยู่แถวหน้าได้ท่ามกลางการแข่งขันที่ดุเดือด โดยเฉพาะบริการคลาวด์ (Cloud service) ที่ได้รับการกล่าวขานถึง เป็นกรณีศึกษาของธุรกิจ Cloud computingมาหลายครั้งหลายหน แต่ในที่สุดก็ไม่พ้นกับปัญหาการให้บริการจนได้

            1.2. OCLC : The world ‘s librarians connected  คือ เชื่อมโยงห้องสมุดต่างๆในโลก Could Opac.

            OCLC เป็น Bibliographic Utilities ที่มีบานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สุดและเครือข่ายที่ใหญที่สุดในโลก กล่าวคือ ในปี ค.ศ. 1999 OCLC มีจำนวนระเบียนประมาณ 40 ล้านระเบียน ให้บริการแก่ห้องสมุดที่เป็นสมาชิก มีการเพิ่มระเบียนใหม่ในฐานข้อมูลทุกๆ 15 วินาที ซึ่งปัจจุบันให้บริการในห้องสมุด 53,546 แห่ง ใน 96 ทั่วโลก






           แยกตามกลุ่มผู้ใช้

Could ระดับองค์กร...........could library

Couldระดับบุคคล G-mail / บริการ

Could ระดับผสม (install big file)

            แยกตามกลุ่มบริการ

public Could  เช่น Face book, G-mail.

Private Could ข้อมูลส่วนตัว เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Hybrid Could

            แยกตามประเภทเทคโนโลยี

SAAS Phone : Java, Dalian.

Tablet : Android.

E-Reader : IOS, I pad.

Net book : Windows.






ที่มา : http://www.buzzparas.com/2011/03/cloud-computing-ppt-slides-1292

        2. Mobile Device
ห้องสมุดจะให้บริการด้านอะไรบ้างผ่านทางโมบาย มีการนำนวัฒกรรมใหม่ๆเข้ามาในการใช้โมบายกับห้องสมุดอย่างมากมาย ก่อนอื่นต้องมีการทำการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ก่อนว่ามีการใช้บริการผ่านโมบายหรือไม่อย่างไร เว็บสถิติประเทศไทย คือตัวช่วยที่ห้องสมุดสามารถไปค้นได้ว่า พฤติกรรมผู้ใช้โมบายมีแนวโน้มเป็นอย่างไร
    รู้จักผู้ใช้และพฤติกรรมจาก Truehits.net



ที่มา : http://www.zenilshroff.com/latest-technologies-stuffs-for-your-ipad-and-iphone


  3.  Digital content & Publishing: E-book, IR, Digital Library.
            รูปแบบของ E-book

      .DOC

      .PDF

      Flip E-book อัลบั้มภาพ อาจโชว์บนเว็บไซต์ ไม่ได้

      Flash Flip E-book- สามารถโชว์บนเว็บไซน์ได้ ด้วย

      E-publishing: ส่วนมากทำเป็นโปสเตอร์

      .PUB – I phone, Galaxy tab.
  4.  CROSSWALK METADATA
         มากกว่า 1 รูปแบบ สามารถสั่งข้ามจากอีกชุด ไปยังอีกชุดได้
              - MARC  สำหรับ บรรณารักษ์
              - MARCML  สำหรับบรรณารักษ์ที่ทำการลงรายการโปรแกรมใหม่ เช่น ยกเลิกรายการ --การ     
              เมือง --พม่า
              - DUBLIN CORE  โปรแกรมที่ใช้สำหรับห้องสมุด
              - ISAD  สำหรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น เช่น หอจดหมายเหตุ
              -  CDWA  สำหรับ พิพิธพันธ์ (museum)
              - RDF  สำหรับการทำเรื่อง knowledge management
              - OWL  สำหรับการทำเรื่อง knowledge management
              - MODS  สำหรับการทำ Digital Library
               - MOTS  สำหรับการทำ Digital Library
               - PDF   สำหรับ เอกสารทั่วไป Metadata
               - DOC  สำหรับ เอกสารทั่วไป Metadata
               - EXIF
               - XMP
               - IPCT
       5.  OPEN TECHNOLOGY

                  - Z39.5
แลกเปลี่ยนบรรณานุกรม หนังสือผ่าน ILS<--->ILS(การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหส่างกัน)


ที่มา : http://abihara.wordpress.com

                       -Z39.88


ที่มา : http://www.flickr.com/photos/catwizard/83344771/

การเพิ่มลำดับเว็บไซต์/จัดลำดับ Webcometric

  ILS <—–> Apps ระหว่างห้องสมุดกับ other application that be new create

    - OAI-PMH มี1ช่องให้สืบค้น แล้วจะได้ผลลัพธ์ทุกอย่างที่ต้องการ เป็นมาตรฐานที่ อินเทรนมากที่สุดในตอนนี้ แล้วจะโชว์ full record ด้วยแนวคิดคือการทำ one search

      ILS or DBs <—–> DBs, Apps
      –> Semantic Web/Web 3.0
            Web 3.0 หัวใจสำคัญคือคำว่า Semantic สามารถป้อนคำค้นเป็นประโยคได้/เว็บเชิงความหมาย เช่น กูเกิ้ลรู้ว่าคำศัพท์ที่เกี่ยวกับเกษตรกรรมคือ พืช สวน ไร่นา ทำเว็บไซต์ให้ค้นหาคำที่เกี่ยวข้องกับคำค้น โดยเอามาจาก keyword (link data)
  • Metadata
  • Bibliography
  • OAI – PMH: One search
  • LINKED DATA
  • ILS<--->APPS
  ทำอย่างไรให้มีระบบสืบค้นที่ค้นได้ ทุกฐานข้อมูลข้างต้น? (ใช้ OAI-PMH)

 6.  DATA & INFORMATIONMINING/VISUALIZATION.




        Data & Information Miningระบบฐานข้อมูลต้องไม่จบแค่ผลลัพธ์การค้น แต่มันต้องบอกอะไรมากกว่านั้น เช่นบอกว่า เจอทั้งหมดกี่เล่ม ปีไหนบ้างมีกี่เล่ม จะมีโปรแกรมช่วยนับให้เรา 
        Visualizationมีหนังสือที่เขียนโดยผู้เขียนคนนี้กี่เรื่องๆ แล้วมีเส้นเชื่อมโยงระหว่างคน 2 คนนี้ว่าเคยเขียนหนังสือเล่มเดียวกันด้วย เช่น http://www.boliven.    

       7.  FACE BOOK ค้นหา APPS-------> Connect Touch grap




           แนวโน้มของการพัฒนาห้องสมุดปัจจุบันนอกจากเรื่องเทคโนโลยีที่หลายๆ คนให้ความสำคัญแล้วจริงๆ แล้วยังมีอีกเรื่องที่สำคัญไม่แพ้กัน นั่นคือ เรื่องของการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยจึงมีนิยามของคำว่า Green Library เกิดขึ้น
  • …Green Building
  • …Green ICT
ที่มา : http://inhabitat.com/mecanoos-tu-delft-library-crowned-with-a-massive-green-roof/
ที่มา : http://thegreenlibraryblog.blogspot.com/2008/10/article-green-library-design-and.html
ที่มา : http://www.thaipr.net/nc/readnews.aspx?newsid=7023c682d1f4d36043ff05168ddc0a07