งานสัมมนา วิชาการเรื่อง การบริการสารสนเทศ
โดย อ.บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ตำแหน่งหัวหน้างานพัฒนา และบริการสื่อสาระดิจิทัล
สำนักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA)
1. New services (บริการรูปแบบใหม่)
1.1 Cloud computing : เช่น Face book, G-mail.
ลักษณะ คือ รวมตัวเป็นกลุ่มก้อน ไม่ได้เก็บข้อมูล ไม่ได้มีการบันทึกในคอมพิวเตอร์ของเรา ไม่ต้องรู้ ที่ตั้ง ไม่ทราบว่า Server ตั้งอยู่ที่ใด
1.2. OCLC : The world ‘s librarians connected คือ เชื่อมโยงห้องสมุดต่างๆในโลก Could Opac.
แยกตามกลุ่มผู้ใช้
Could ระดับองค์กร...........could library
Couldระดับบุคคล G-mail / บริการ
Could ระดับผสม (install big file)
แยกตามกลุ่มบริการ
public Could เช่น Face book, G-mail.
Private Could ข้อมูลส่วนตัว เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Hybrid Could
แยกตามประเภทเทคโนโลยี
SAAS Phone : Java, Dalian.
Tablet : Android.
E-Reader : IOS, I pad.
Net book : Windows.
3. Digital content & Publishing: E-book, IR, Digital Library.
รูปแบบของ E-book
.DOC
.PDF
Flip E-book – อัลบั้มภาพ อาจโชว์บนเว็บไซต์ ไม่ได้
Flash Flip E-book- สามารถโชว์บนเว็บไซน์ได้ ด้วย
E-publishing: ส่วนมากทำเป็นโปสเตอร์
.PUB – I phone, Galaxy tab.
4. CROSSWALK METADATA
มากกว่า 1 รูปแบบ สามารถสั่งข้ามจากอีกชุด ไปยังอีกชุดได้
- MARC
- MARCML
- DUBLIN CORE
- ISAD
- RDF
- OWL
- MODS
- METS
- PDF
- DOC
- EXIF
- XMP
- IPPTC
5. OPEN TECHNOLOGY
- Z39.5
แลกเปลี่ยนบรรณานุกรม หนังสือผ่าน ILS<--->ILS(การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหส่างกัน)
-Z39.88
การเพิ่มลำดับเว็บไซต์/จัดลำดับ Webcometric
OAI – PMH: One search
LINKED DATA
METADATA
BIBLIGRAPHY
ILS<--->APPS
LINK DATA
ทำอย่างไรให้มีระบบสืบค้นที่ค้นได้ ทุกฐานข้อมูลข้างต้น? (ใช้ OAI-PMH)
6. DATA & INFORMATIONMINING/VISUALIZATION.
7. FACE BOOK ค้นหา APPS-------> Connect Touch graph