วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

งานสัมมนา วิชาการเรื่อง การบริการสารสนเทศ

สรุปงานสัมมนาวิชาการเรื่อง การบริการสารสนเทศ วันที่ 23-24 ก.ค. 2554

โดย อ.บุญเลิศ  อรุณพิบูลย์ ตำแหน่งหัวหน้างานพัฒนา และบริการสื่อสาระดิจิทัล

สำนักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA)

  1.  New services (บริการรูปแบบใหม่)

1.1    Cloud  computing : เช่น Face book, G-mail.

 ลักษณะ คือ รวมตัวเป็นกลุ่มก้อน  ไม่ได้เก็บข้อมูล  ไม่ได้มีการบันทึกในคอมพิวเตอร์ของเรา  ไม่ต้องรู้ ที่ตั้ง ไม่ทราบว่า Server ตั้งอยู่ที่ใด 

Black April คือ เหตุการณ์ที่ระบบเทคโนโลยี ต่างล่มโดยมิได้นัดหมายใน วันที่ 21 เดือนเมษายน 2011ที่ขอเรียกได้ว่าเป็น “Black April” เดือนที่เกิดความโกลาหลในอุตสาหกรรมไอซีที ไปพอสมควร ไม่เพียงแต่ในต่างประเทศ บ้านเราระบบไทยคมก็ทำเอาหน้าจอมืดไปร่วมสามชั่วโมง ยักษ์ใหญ่แห่งธุรกิจค้าปลีกออนไลน์อย่าง Amazon ส่งผลให้องค์กรนี้มีระบบไอทีที่เข้มแข็งมาก ขนาดที่เข้ามายืนอยู่แถวหน้าได้ท่ามกลางการแข่งขันที่ดุเดือด โดยเฉพาะบริการคลาวด์ (Cloud service) ที่ได้รับการกล่าวขานถึง เป็นกรณีศึกษาของธุรกิจ Cloud computingมาหลายครั้งหลายหน แต่ในที่สุดก็ไม่พ้นกับปัญหาการให้บริการจนได้

            1.2. OCLC : The world ‘s librarians connected  คือ เชื่อมโยงห้องสมุดต่างๆในโลก Could Opac.

            OCLC เป็น Bibliographic Utilities ที่มีบานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สุดและเครือข่ายที่ใหญที่สุดในโลก กล่าวคือ ในปี ค.ศ. 1999 OCLC มีจำนวนระเบียนประมาณ 40 ล้านระเบียน ให้บริการแก่ห้องสมุดที่เป็นสมาชิก มีการเพิ่มระเบียนใหม่ในฐานข้อมูลทุกๆ 15 วินาที ซึ่งปัจจุบันให้บริการในห้องสมุด 53,546 แห่ง ใน 96 ทั่วโลก






           แยกตามกลุ่มผู้ใช้

Could ระดับองค์กร...........could library

Couldระดับบุคคล G-mail / บริการ

Could ระดับผสม (install big file)

            แยกตามกลุ่มบริการ

public Could  เช่น Face book, G-mail.

Private Could ข้อมูลส่วนตัว เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Hybrid Could

            แยกตามประเภทเทคโนโลยี

SAAS Phone : Java, Dalian.

Tablet : Android.

E-Reader : IOS, I pad.

Net book : Windows.






ที่มา : http://www.buzzparas.com/2011/03/cloud-computing-ppt-slides-1292

        2. Mobile Device
ห้องสมุดจะให้บริการด้านอะไรบ้างผ่านทางโมบาย มีการนำนวัฒกรรมใหม่ๆเข้ามาในการใช้โมบายกับห้องสมุดอย่างมากมาย ก่อนอื่นต้องมีการทำการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ก่อนว่ามีการใช้บริการผ่านโมบายหรือไม่อย่างไร เว็บสถิติประเทศไทย คือตัวช่วยที่ห้องสมุดสามารถไปค้นได้ว่า พฤติกรรมผู้ใช้โมบายมีแนวโน้มเป็นอย่างไร
    รู้จักผู้ใช้และพฤติกรรมจาก Truehits.net



ที่มา : http://www.zenilshroff.com/latest-technologies-stuffs-for-your-ipad-and-iphone


  3.  Digital content & Publishing: E-book, IR, Digital Library.
            รูปแบบของ E-book

      .DOC

      .PDF

      Flip E-book อัลบั้มภาพ อาจโชว์บนเว็บไซต์ ไม่ได้

      Flash Flip E-book- สามารถโชว์บนเว็บไซน์ได้ ด้วย

      E-publishing: ส่วนมากทำเป็นโปสเตอร์

      .PUB – I phone, Galaxy tab.
  4.  CROSSWALK METADATA
         มากกว่า 1 รูปแบบ สามารถสั่งข้ามจากอีกชุด ไปยังอีกชุดได้
              - MARC  สำหรับ บรรณารักษ์
              - MARCML  สำหรับบรรณารักษ์ที่ทำการลงรายการโปรแกรมใหม่ เช่น ยกเลิกรายการ --การ     
              เมือง --พม่า
              - DUBLIN CORE  โปรแกรมที่ใช้สำหรับห้องสมุด
              - ISAD  สำหรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น เช่น หอจดหมายเหตุ
              -  CDWA  สำหรับ พิพิธพันธ์ (museum)
              - RDF  สำหรับการทำเรื่อง knowledge management
              - OWL  สำหรับการทำเรื่อง knowledge management
              - MODS  สำหรับการทำ Digital Library
               - MOTS  สำหรับการทำ Digital Library
               - PDF   สำหรับ เอกสารทั่วไป Metadata
               - DOC  สำหรับ เอกสารทั่วไป Metadata
               - EXIF
               - XMP
               - IPCT
       5.  OPEN TECHNOLOGY

                  - Z39.5
แลกเปลี่ยนบรรณานุกรม หนังสือผ่าน ILS<--->ILS(การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหส่างกัน)


ที่มา : http://abihara.wordpress.com

                       -Z39.88


ที่มา : http://www.flickr.com/photos/catwizard/83344771/

การเพิ่มลำดับเว็บไซต์/จัดลำดับ Webcometric

  ILS <—–> Apps ระหว่างห้องสมุดกับ other application that be new create

    - OAI-PMH มี1ช่องให้สืบค้น แล้วจะได้ผลลัพธ์ทุกอย่างที่ต้องการ เป็นมาตรฐานที่ อินเทรนมากที่สุดในตอนนี้ แล้วจะโชว์ full record ด้วยแนวคิดคือการทำ one search

      ILS or DBs <—–> DBs, Apps
      –> Semantic Web/Web 3.0
            Web 3.0 หัวใจสำคัญคือคำว่า Semantic สามารถป้อนคำค้นเป็นประโยคได้/เว็บเชิงความหมาย เช่น กูเกิ้ลรู้ว่าคำศัพท์ที่เกี่ยวกับเกษตรกรรมคือ พืช สวน ไร่นา ทำเว็บไซต์ให้ค้นหาคำที่เกี่ยวข้องกับคำค้น โดยเอามาจาก keyword (link data)
  • Metadata
  • Bibliography
  • OAI – PMH: One search
  • LINKED DATA
  • ILS<--->APPS
  ทำอย่างไรให้มีระบบสืบค้นที่ค้นได้ ทุกฐานข้อมูลข้างต้น? (ใช้ OAI-PMH)

 6.  DATA & INFORMATIONMINING/VISUALIZATION.




        Data & Information Miningระบบฐานข้อมูลต้องไม่จบแค่ผลลัพธ์การค้น แต่มันต้องบอกอะไรมากกว่านั้น เช่นบอกว่า เจอทั้งหมดกี่เล่ม ปีไหนบ้างมีกี่เล่ม จะมีโปรแกรมช่วยนับให้เรา 
        Visualizationมีหนังสือที่เขียนโดยผู้เขียนคนนี้กี่เรื่องๆ แล้วมีเส้นเชื่อมโยงระหว่างคน 2 คนนี้ว่าเคยเขียนหนังสือเล่มเดียวกันด้วย เช่น http://www.boliven.    

       7.  FACE BOOK ค้นหา APPS-------> Connect Touch grap




           แนวโน้มของการพัฒนาห้องสมุดปัจจุบันนอกจากเรื่องเทคโนโลยีที่หลายๆ คนให้ความสำคัญแล้วจริงๆ แล้วยังมีอีกเรื่องที่สำคัญไม่แพ้กัน นั่นคือ เรื่องของการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยจึงมีนิยามของคำว่า Green Library เกิดขึ้น
  • …Green Building
  • …Green ICT
ที่มา : http://inhabitat.com/mecanoos-tu-delft-library-crowned-with-a-massive-green-roof/
ที่มา : http://thegreenlibraryblog.blogspot.com/2008/10/article-green-library-design-and.html
ที่มา : http://www.thaipr.net/nc/readnews.aspx?newsid=7023c682d1f4d36043ff05168ddc0a07








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น